คำยินดี

ยินดีต้อนรับเข้าสู้บล็อกเกอร์ของดิฉันนางสาววันวิสาข์ รุ่งโรจน์นภากร เอกสังคมศึกษา คบ.2 หมู่ 3 รหัส544110111 มหาวิทยาลัยราชภัฎหมู่บ้านจอมบึง

คำอธิบายรายวิชา

ศึกษาแนวคิด ทฤษฏี นวัตกรรมเทคโนโลยีและสารสนเทศทางการศึกษา ที่ส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ การวิเคราะห์ปัญหาที่เกิดจากการใช้นวัตกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศ แหล่งเรียนรู้และเครื่อข่ายการเรียนรู้ การสร้างการออกแบบ การนำไปใช้ การประเมินผล การปรับปรุงนวัตกรรม สามารถดลือกใช้ ออกแบบ สร้าง การปรับปรุงนวัตกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับการจัดการเรียนรู้ในรายวิขาที่จะรับผิดชอบในอนาคตได้อย่างเหมาะสมสอดคล้องกับระดับการศึกษา ทั้งนี้เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ที่ดี สามารถแสวงหาความรู้ที่หลากหลาย และเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียน

คุณธรรม จริยธรรม

วินัยคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพครู

การประเมินวินัย คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพครู เพื่อให้ข้าราชการครู และบุคลากรทางทางการศึกษามีและเลื่อนวิทยฐานะ(ชำนาญการพิเศษ) จะประเมินใน 6 เรื่อง ได้แก่

1.พฤติกรรมการรักษาระเบียบวินัย ได้แก่ การควบคุมการประพฤติปฏิบัติของตนเองให้อยู่ในกฎระเบียบของหน่วยงานและสังคมในกรณีมีความรับผิดชอบและซื่อตรงต่อการปฏิบัติหน้าที่ โดยยึดถือประโยชน์ที่จะเกิดขึ้นต่อส่วนรวมเป็นสำคัญ

2.การประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดี ได้แก่ พฤติกรรมการปฏิบัติทั้งพฤติกรรมส่วนตนและพฤติกรรมการปฏิบ้ติงาน ทั้งในเรื่องความสามัคคีและวิถีประชาธิปไตยในการดำเนินชีวิต

3.การดำรงชีวิตอย่างเหมาะสม ได้แก่ การประพฤติปฎิบัติตนในการดำรงชีวิตที่ยึดหลักความพอเพียง การหลีกเลี่ยงอบายมุข การรู้รักสามัคคีและวิถีประชาธิปไตยในการดำเนินชีวิต

4.ความรักและศรัทธาในวิชาชีพ ได้แก่ ความพึงพอใจและอุทิศเวลาในการปฏิบัติงานในหน้าที่ด้วยความวิริยะ อุตสาหะ โดยมุ่งผลสำเร็จที่เป็นความเจริญก้าวหน้าของการจัดการศึกษา

5.ความรับผิดชอบในวิชาชีพ ได้แก่ การปฏิบัติงานในหน้าที่โดยคำนึงถึงความถูกต้อง ความซื่อสัตย์สุจริต และผลประโยชน์ของหน่วยงานและผู้รับบริการเป็นสำคัญ

6.ค่านิยม และอุดมการณ์ของความเป็นครู และบุคลากรทางการศึกษา ได้แก่ ค่านิยมพื้นฐาน 5 ประการ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ฯลฯ

วินัยและการรักษาวินัย

1.ครูต้องรักษาวินัยที่บัญญัติเป็นข้อห้ามและข้อปฏิบัติไว้ในหมวดนี้โดยเคร่งครัดอยู่เสมอ

2.ครูต้องสนับสนุนการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยด้วยความบริสุทธ์ใจและมีหน้าที่วางรากฐานให้เกิดระบอบการปกครองเช่นว่านั้น

3.ครูต้องปฏิบัติหน้าที่ราชการด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต เสมอภาคและเที่ยงธรรม มีความวิริยะ อุตสาหะ ขยันหมั่นเพียร ดูแลเอาใจใส่รักษาประโยชน์ของทางราชการและต้องปฏิบัติตนตามมาตรฐานและจรรยาบรรณวิชาชีพอย่างเคร่งครัด

4.ครูต้องปฏิบัติหน้าที่ราชการให้เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบแบบแผนของทางราชการ และหน่วยงานการศึกษา มติคณะรัฐมนตรี หรือนโยบายของรัฐบาลโดยถืประโยชน์สูงสุดของผู้เรียนและไม่ให้เกิดความเสียหายแก่ทางราชการ

5.ครูต้องปฏิบัติตามคำสั่งของผู้บังคับบัญชาซึ่งสั่งในหน้าที่ราชการโดยชอบด้วยกฎหมายและระเบียบของทางราชการโดยไม่ขัดขืนหรือหลีกเลี่ยง

6.ครูต้องตรงต่อเวลา อุทิศเวลาของตนให้แก่ทางราชการและผู้เรียนจะละทิ้งหรือทอดทิ้งหน้าที่ราชการโดยไม่มีเหตุผลอันสมควรมิได้ การละทิ้งหน้าที่ราชการติดต่อในคราวเดียวกันเป็นเวลาเกินกว่าสิบห้าวันโดยไม่มีเหตุผลอันสมควรหรือโดยมีพฤติการณ์อันแสดงถึงความจงใจไม่ปฏิบัติตามระเบียบของทางราชการเป็นความผิดวินัยร้ายแรง

7.ครูต้องประพฤติเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ผู้เรียน ชุมชน สังคม มีความสุภาพเรียบร้อย รักษาความสามัคคี ช่วยเหลือเกื้อกูลต่อผู้เรียนและระหว่างข้าราชการด้วยกันหรือผู้ร่วมปฏิบัติราชการ ต้อนรับ ให้ความสะดวก ให้ความเป็นธรรมแก่ผู้เรียนและประชาชนผู้มาติดต่อราชการ

8.ครูต้องไม่กลั่นแกล้ง กล่าวหาหรือร้องเรียนผู้อื่นโดยปราศจากความเป็นจริง

9.ครูต้องไม่กระทำการหรือยอมให้ผู้อื่นกระทำการหาประโยชน์อันอาจทำให้เสื่อมเสียความเที่ยงธรรม หรือเสื่อมเสียเกียรติศักดิ์ในตำแหน่งหน้าที่รชการของตน

10.ครูต้องไม่คัดลอกหรือลอกเลียนผลงานทางวิชาการของผู้อื่นโดยมิชอบหรือนำเอาผลงานทางวิชาการของผู้อื่นหรือจ้างวานให้ผู้อื่นทำผลงานทางวิชาการเพื่อไปใช้ในการเสนอขอปรับปรุงการกำหนดตำแหน่ง การเลื่อนตำแหน่ง การเลื่อนวิทยฐานะหรือการให้ได้รับเงินเดือนในระดับที่สูงขี้น การฝ่าฝืนหลักการดังกล่าวนี้เป็นความผิดวินัยอย่างร้ายแรง

11.ครูต้องไม่เป็นกรรมการผู้จัดการหรือผู้จัดการหรือดำรงตำแหน่งอื่นใดที่มีลักษณะงานคล้ายคลึงกันนั้นในห้างหุ้นส่วนหรือบริษัท

12.ครูต้องวางตนเป็นกลางทางการเมืองในการปฏิบัติหน้าที่และในการปฏิบัติการอื่นที่เกี่ยวข้องกับประชาชนโดยต้องไม่อาศัยอำนาจและหน้าที่ราชการของตนแสดงการฝักใฝ่ ส่งเสริม เกื้อกูล สนับสนุนบุคคล กลุ่มบุคคล หรือพรรคการเมืองใด

13.ครูต้องรักษาชื่อเสียงของตนและรักษาเกียรติศักดิ์ของตำแหน่งหน้าที่ราชการของตนมิให้เสื่อมเสียโดยไม่กระทำการใดๆ อันได้ชื่อว่าเป็นผู้ประพฤติชั่ว

จรรยาบรรณของวิชาชีพครู

1.ครูต้องประพฤติตามจรรยาบรรณของวิชาชีพและแบบแผนพฤติกรรมตามจรรยาบรรณของวิชาชีพ

2.ครูต้องมีวินัยในตนเอง พัฒนาตนเองด้านวิชาชีพ บุคลิกภาพ และวิสัยทัศน์ ให้ทันต่อการพัฒนาทางวิทยาการ เศรษฐกิจ สังคม และการเมืองอยู่เสมอ

3.ครูต้องรัก ศรัทธา ซื่อสัตย์สุจริต รับผิดชอบต่อวิชาชีพ และเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กรวิชาชีพ

4.ต้องรัก เมตตา เอาใจใส่ ช่วยเหลือ ส่งเสริมให้กำลังใจแก่ศิษย์และผู้รับบริการตามบทบาทหน้าที่อย่างเต็มความสามารถ ด้วยความบริสุทธิ์ใจ

5.ครูต้องประพฤติปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีทั้งทางกาย วาจา และจิตใจ

6.ครูต้องไม่กระทำตนเป็นปฏิปักษ์ต่อความเจริญทางกาย สติปัญญา จิตใจ อารมณ์ และสังคมของศิษย์ หรือผู้รับบริการ

7.ครูต้องให้บริการด้วยความจริงใจและเสมอภาคโดยไม่เรียกรับหรือยอมรับผลประโยชน์จากการใช้ตำแหน่งหน้าที่โดยมิชอบ

8.ครูต้องช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกันอย่างสร้างสรรค์ โดยยึดมั่นในระบบคุณธรรม สร้างความสามัคคีในหมู่คณะ

9.ครูต้องประสงค์ปฏิบัติตนเป็นผู้นำในการอนุรักษ์และพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญา สิ่งแวดล้อม รักษาผลประโยชน์ของส่วนรวมและยึดมั่นในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

คุณธรรม จริยธรรมของครู

จริยธรรมเป้าหมายทั้งหมดมี 20 ประการ คือ

1.ครูต้องมีความขยันหมั่นเพียร

2.ครูต้องมีวินัยตนเอง

3.ครูต้องรู้จักปรับปรุงตนเอง

4.ครูต้องให้ความช่วยเหลือผู้อื่น

5.ครูต้องบำเพ็ญประโยชน์เพื่อชุมชน

6.ครูต้องเสียสละเพื่อสาธารณะประโยชน์

7.ครูต้องรู้จักเห็นอกเห็นใจผู้อื่น

8.ครูต้องมีความกตัญญูกตเวที

9.ครูต้องไม่ประมาท

10.ครูต้องปฏิบัติต่อผู้อาวุโสในทางที่ดี

11.ครูต้องมีสัจจะและแสดงความจริงใจ

12.ครูต้องมีความเมตตากรุณา

13.ครูต้องมีความอดทน อดกลั้น

14.ครูต้องมีความซื่อสัตย์

15.ครูต้องมีระเบียบวินัยและตรงต่อเวลา

16.ครูต้องมีการให้อภัย

17.ครูต้องประหยัดและอดออม

18.ครูต้องเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่

19.ครูต้องมีความรับผิดชอบ

20.ครูต้องจงรักภักดีต่อชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์

หน่วยที่ 1


บทที่ 1 นวัตกรรมและเทคโนโลยี
ความหมายของนวัตกรรม
‚นวัตกรรม‛ (Innovation)  มีรากศัพท์มาจาก  innovare  ในภาษาลาติน แปลวา่ ทา ส่ิงใหมข่ ้ึนมา
ความหมายของนวัตกรรมในเชิงเศรษฐศาสตร์คือ การนา แนวความคิดใหมห่ รือการใชป้ ระโยชนจ์ากส่ิงท่ีมี
อยแู่ลว้มาใชใ้นรูปแบบ ใหม่ เพอ่ืทา ใหเ้กิดประโยชนท์ างเศรษฐกิจ หรือกค็ือ‛การทา ในส่ิงท่ีแตกตา่ งจากคน
อ่ืน โดยอาศยัการเปล่ียนแปลงตา่ ง ๆ (Change)  ท่ีเกิดข้ึนรอบตวัเราใหก้ลายมาเป็นโอกาส (Opportunity)
และถ่ายทอดไปสู่แนวความคิดใหมท่ ่ีทา ใหเ้กิดประโยชน์ตอ่ ตนเองและสงัคม‛   แนวความคิดน้ีไดถูก้
พฒั นาข้ึนมาในช่วงตน้ศตวรรษท่ี20 โดยจะเห็นไดจ้ากแนวคิดของนกัเศรษฐอุตสาหกรรม เช่น ผลงานของ
Joseph Schumpeter ใน The Theory of Economic Development,1934 โดยจะเน้นไปที่การสร้างสรรค์ การ
วิจัยและพัฒนาทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อนัจะนา ไปสู่การไดม้าซ่ึง นวตักรรมทางเทคโนโลยี
(I n n o v a t i o n  T e c h n o l o g y )
ส านักงานนวัตกรรมแห่งชาติได้ให้ความหมายของคา วา่ นวัตกรรม (innovation) คือ ‚ส่ิงใหม่ท่ีเกิด
จากการใช้ความรู้และความคิดสร้างสรรคท์ ่ีมีประโยชน์ต่อเศรษฐกิจและสังคม" และหมายรวมถึงส่ิงท่ี
เกิดข้ึนจากความสามารถในการใชค้วามรู้ความคิดสร้างสรรค์ ทักษะ และประสบการณ์ทางเทคโนโลยีหรือ
การจดัการมาพฒั นาใหเ้กิดผลิตภณั ฑ์หรือกระบวนการผลิต หรือบริการใหม่ เพ่ือตอบสนองความตอ้งการ
ของตลาด ตลอดจนการปรับปรุงเทคโนโลยีการแพร่กระจายเทคโนโลยีการออกแบบผลิตภณั ฑ์และการ
ฝึกอบรมท่ีนา  มาใชเ้พ่ือเพ่ิมมูลค่าทางเศรษฐกิจและก่อใหเ้กิดประโยชน์ สาธารณะในรูปแบบของการเกิด
ธุรกิจการลงทุน ผปู้ระกอบการ หรือตลาดใหม่่หรือรายไดแ้หล่งใหม่รวมท้งัการจา้งงานใหม่นวัตกรรมจึง
เป็นกระบวนการท่ีเกิดจากการนา ความรู้และความคิดสร้างสรรคม์ าผนวก กบัความสามารถในการบริหาร
จัดการ เพื่อสร้างใหเ้กิดเป็นธุรกิจนวตักรรมหรือธุรกิจใหม่อนัจะนา ไปสู่การลงทุนใหม่ท่ีส่งผลต่อการเพ่ิม
ขีดความสามารถในการแขง่ ขนัของ ประเทศ
ดร.เศรษฐชัย ชัยสนิท (2553) ไดใ้หค้วามหมายของคา วา่ นวัตกรรม (Innovation)  หมายถึงการท า
ส่ิงต่างๆ ดว้ยวิธีการใหม่ๆ และยังอาจหมายถึงการเปลี่ยนแปลงทางความคิด การผลิต กระบวนการ หรือ
องค์กร ไม่ว่าการเปล่ียนน้ันจะเกิดข้ึนจากการการพฒั นาต่อยอด การเปล่ียนแปลง การประยุกต์หรือ
กระบวนการ และในหลายสาขา เช่ือกนั ตรงกนัวา่ การท่ีส่ิงใดส่ิงหน่ึงจะเป็นนวตักรรมไดน้ ้นั จะต้องมีความ
ใหมอ่ ยา่ งเห็นไดช้ดั และความใหม่น้นั จะตอ้งเพ่ิมมูลค่าส่ิงต่าง ๆ ไดอ้ีกดว้ย โดยเป้าหมายของนวตักรรมคือ
การเปลี่ยนแปลงในเชิงบวก เพ่ือทา ใหส้ ่ิงต่างๆเกิดเปล่ียนแปลงในทางท่ีดีข้ึน นวัตกรรมก่อให้ไดผ้ลิตผล
เพม่ิข้ึน และเป็นท่ีมาสา คญั ของความมน่ัคงทางเศรษฐกิจและสงัคมของชาติ            อัจฉรา  ส้มเขียวหวาน (2549)   ใหค้วามหมายของนวตักรรมวา่ นวตักรรมคือ ความ คิดหรือการ
ปฏิบตัิใหมๆ่ ท่ีผดิแปลกไปจากส่ิงท่ีเคยปฏิบตัิมาท้งัหมดหรือการ เปล่ียนแปลงบางส่วนจากส่ิงท่ีเคยปฏิบตัิ
มาก่อนท่ีเกิดจากกระบวนการวจิยัท่ี ยงัไมเ่ป็นส่วนหน่ึงของระบบงานในปัจจุบนั เพอ่ืจะนา มาใชใ้นการ
ปรับปรุงเปล่ียนแปลงการดา  เนินงานตา่ งๆใหม้ีประสิทธิภาพ สูงยง่ิข้ึน
ส านักงานคณะกรรมการการอดุ มศึกษา (2546)  นวัตกรรม  (Innovation) หมายถึง วธิีการใหมๆ่
ท่ีนา มาใช้ซ่ึงไมเ่คยใชใ้นหน่วยงานน้นั มาก่อน อาจเป็นวธิีการใหมท่ ่ีใชเ้ป็นคร้ังแรก หรืออาจเป็นวธิีการ
ใหมท่ ่ีเคยใชใ้นหน่วยงานอ่ืนมาก่อน
อ านวย  เดชชัยศรี  (2544)ใหค้วามหมายของนวตักรรมไวว้า่ นวตักรรมคือ ความใหม่และทนั สมยั
ซ่ึงถูกคนพบโดยส่ิงน้นัไมเ่คยมีมาก่อนในโลกน้ีเพง่ิจะมีเป็นคร้ังแรก อีกประการหน่ึงส่ิงท่ีถูกคน้ พบถูกเกบ็
ซ่อนไวโ้ดยยงัไมผ่ า่ นกระบวนการทางวทิยาศาสตร์  เม่ือนา  มาทดสอบหรือทดลองก็เป็นนวตักรรม
กิดานันท์  มลิทอง (2540)  ได้กล่าวไวว้า่ นวตักรรมเป็นแนวความคิดการปฏิบตัิหรือส่ิงประดิษฐ์
ใหม่ๆ ท่ียงัไมเ่คยมีใชม้ าก่อนหรือเป็นการพฒั นาดดัแปลงจากของเดิมท่ีมีอยแู่ลว้ให้ทันสมัยและใช้ได้ผลดี
ยง่ิข้ึน เมื่อน านวัตกรรมมาใชจ้ะช่วยใหก้ารทา งานน้นัไดผ้ลดีมีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผลสูงกวา่ เดิม ท้งั
ยงัช่วยประหยดัเวลาและแรงงานไดด้ว้ย
        Everette M. Rogers (1983)  ไดใ้หค้วามหมายของคา วา่ นวตักรรม (Innovation)  วา่ นวตักรรมคือ
ความคิดการกระทา  หรือส่ิงใหม่ ซ่ึงถูกรับรู้วา่ เป็นส่ิงใหม่ๆ ดว้ยตวับุคคลแต่ละคนหรือหน่วยอ่ืน ๆ ของ
การยอมรับในสังคม (Innovation is a new idea, practice or object, that is perceived as new by the
individual or other unit of adoption)
Toffler  (2003) ใหค้วามหมายของนวตักรรมไวว้า่ นวตักรรม เป็นการผสมผสานระหวา่ งเคร่ืองมือ
กล และเทคนิคตา่ งๆ ท่ีมี3ลกัษณะประกอบกนัไดแ้ก่
1.      จะตอ้งเป็นการสร้างสรรคข์้ึนใหม่ (creative) และเป็ นความคิดที่สามารถปฏิบัติได้  (feasible
idea)
2.      จะต้องสามารถน าไปใช้ได้ผลจริง  (practical  application)
3.       มีการเผยแพร่ออกสู่ชุมชน (Distribution)
Thormas Hughes  (2003)  ให้ความหมายของนวัตกรรม (innovation)   ไวว้า่ เป็นการนา วธิีการ
ใหมๆ่ มาปฏิบตัิหลงัจากไดผ้า่ นการทดลองหรือไดร้ับการพฒั นามาเป็นข้นั ๆแลว้ โดยเร่ิมมาต้งัแตก่ าร
1. คิดค้น(invention)
2. การพัฒนา(development) หรือโครงการทดลองปฏิบตัิก่อน (pilot  project)
3. น าไปปฏิบัติจริง (implement)       โดย สรุปแล้ว นวัตกรรมหมายถึง ความคิดและกระบวนการใหม่ ๆ ท่ีไม่เคยมีมาก่อนหรือการพฒั นา
ดดัแปลงจากของเดิมใหด้ีข้ึนและเม่ือนา มาใช้กท็ า ใหง้านมีประสิทธิภาพมากข้ึน
ลักษณะของนวัตกรรม
1. น วั ต ก ร ร ม ใ ห ม่ อ ย่ า ง สิ้ น เ ชิ ง ( Radical Innovation)
           หมายถึง ขบวนการเสนอส่ิงใหม่ท่ีใหม่อยา่ งแทจ้ริง สู่สังคม โดยการเปล่ียนแปลงค่านิยม
(value),  ความเชื่อ (belief )  เดิม ตลอดจนระบบคุณค่า(value system)ของสังคม อยา่ งสิ้นเชิง
ตวัอยา่ งเช่นอินเตอร์-เน็ท (Internet) จดัวา่ เป็นนวตักรรมหน่ึงในยคุ โลกขอ้ มูลข่าวสาร การน าเสนอ
ระบบอินเตอร์เน็ท ทา ใหค้า่ นิยมเดิมท่ีเช่ือวา่ โลกขอ้มลูขา่ วสารจา กดัอยู่ในวงเฉพาะท้งัในดา้นเวลา
และ สถานท่ีน้นั เปล่ียนไป อินเตอร์เน็ทเปิดโอกาส ให้ความสามารถในการเข้าถึงขอ้ มูลไร้ขีดจา กดั
ท้งัในดา้นของเวลาและระยะทาง การเปล่ียนแปลงในคร้ังน้ีทา ใหร้ะบบคุณค่าของขอ้ มูลข่าวสาร
เปลี่ยนแปลงไป2. น วั ต ก ร ร ม  ที่ มี ลั ก ษ ณ ะ ค่ อ ย เ ป็ น ค่ อ ย ไ ป
           เป็ น ขบวนการการค้นพบ (discover) หรือคิดคน้ ส่ิงใหม่(invent)โดยการประยุกต์ใช้แนวคิด
ใหม่ (new idea)  หรือ ความรู้ใหม่ (new knowledge)  ท่ีมีลกั ษณะต่อเน่ืองไม่สิ้นสุด โดยการ
ประยุกต์ใช้แนวคิดใหม่ หรือความรู้ใหม่ของมนุษย์และการคน้ คน้ เทคนิค (technique)  หรือ
เทคโนโลยี(technology)  ใหม่นวตักรรมท่ีมีลกั ษณะค่อยเป็นค่อยไป จึงมีลักษณะของการสะสม
การเรียนรู้ (cumulative learning) อยใู่นบริบท ของสังคมหนึ่ง ในปัจจุบันสังคมได้เปลี่ยนแปลงไป
อยา่ งมาก เพราะผลของขบวนการโลกาภิวัตน์ ท าให้สังคมมีลักษณะไร้ขอบเขต (borderless)  เป็ น
สังคมของชาวโลกที่มีความหลากหลายทางด้านสังคมวัฒนธรรมและการเมือง ส่งผลใหน้ วตักรรม
มีแนวโน้มที่จะเป็ น ขบวนการคน้ พบใหม่อย่างต่อเน่ืองในระดบั นานาชาติมากกว่า ที่จะเป็ น
นวตักรรมใหมโ่ ดยสิ้นเชิง สา  หรับสงัคมหน่ึง ๆ
ประเภทของนวัตกรรม
1. นวัตกรรมผลิตภัณฑ์  (Product Innovation)
          คือการปรับปรุงผลิตภณั ฑท์ ่ีผลิตข้ึนในเชิงพาณิชยท์ ่ีไดใ้หด้ีข้ึนหรือเป็นส่ิง ใหมใ่ นตลาด
นวตักรรมน้ีอาจจะเป็นของใหมต่ อ่ โลก, ตอ่ ประเทศหรือแมแ้ตต่ ่อองคก์ร นวตักรรมผลิตภณั ฑ์น้นั
ยงัสามารถถูกแบง่ ออกเป็นผลิตภณั ฑท์ ่ีจบั ตอ้งได(้tangible product) หรือสินคา้ทว่ัไปเช่นรถยนตร์ุ่น
ใหม, ่ ทีวีที่ใช้เทคโนโลยีสูงหรือ‘High Definition TV(HDTV)’, ดีวีดีหรือ‘Digital Video
Disc(DVD)’ และผลิตภณั ฑท์ ่ีจบั ตอ้งไมไ่ ด้(intangible product) อาทิเช่น การบริการ (services)
เช่น เพกเกจ็ทวัร์อนุรักษธ์รรมชาติ, ธุรกรรมการเงิน-ธนาคารโดยผา่ นทางโทรศพท์ ( ั telephone
finance banking)เป็ นต้น
2. นวัตกรรมกระบวนการ (Process Innovation)
           เป็ นการ เปลี่ยนแนวทาง หรือ วิธีการผลิตสินค้า หรือบริการ ให้การให้บริการในรูปแบบที่
แตกตา่ งออกไปจากเดิม เช่น การผลิตแบบทันเวลาพอดี หรือ‘Just In Time (JIT)’ , การบริหารงาน
คุณภาพองค์กรรวมหรือ‘Total Quality Management (TQM)’, และการผลิตแบบกระทัดรัดหรือ ‘
Lean Production ’ เป็ นต้นข้อสังเกตเกี่ยวกับสิ่งที่ถือว่าเป็ นนวัตกรรม
1. เป็นความคิดและกระบวนการกระทา ใหมท่ ้งัหมดหรือปรับปรุงดดัแปลงจากท่ีส่ิงท่ีเคยมีนา มาปรับปรุง
ใหมใ่ หด้ียง่ิข้ึน
2. ความคิดหรือการกระทา น้นั มีการพสิูจนด์ว้ยการทดลองวจิยั ผลสมัฤทธ์ิการดา  เนินงานมีประสิทธิภาพ
สูงข้ึน
3. มีการนา วธิีระบบมาใชอ้ยา่ งชดัเจนโดยพจิารณาองคป์ ระกอบท้งั 3 ส่วน คือขอ้ มลู กระบวนการและ
ผลลัพธ์
4. ยงัไมเ่ป็นส่วนหน่ึงส่วนใดของระบบงานในปัจจุบัน
หลกัสา คญั ในการพจิารณาวา่ เป็นนวตักรรม จากความหมายของคา วา่ นวตักรรมจะเห็นวา่ นกัการศึกษาแต่
ละทา่ นไดใ้หค้วามหมายไว้แตกตา่ งกนั แตพ่ อจะมีเกณฑใ์หเ้ราพจิารณาไดว้า่ ส่ิงใดเป็นนวตักรรมหรือไม่
โดย ชัยยงค์พรหมวงศ์ไดใ้หเ้กณฑใ์นการพจิารณาส่ิงท่ีจะถือวาเป็ น ่ นวตักรรมไวด้งัน้ี
1. จะตอ้งเป็นส่ิงใหมท่ ้งัหมดหรือบางส่วน
2. มีการน าวิธีการจัดระบบมาใช้โดยพจิารณาองคป์ ระกอบท้งัส่วนขอ้มลู ท่ีใส่เขา้ไป กระบวนการและ
ผลลัพธ์ใหเ้หมาะสมก่อนท่ีจะทา การเปล่ียนแปลง
3. มีการพสิูจนด์ว้ยการวจิยั หรืออยรู่ะหวา่ งการวจิยัวา้จะช่วยใหก้ารดา  เนินงานบางอยา่ งมีประสิทธิภาพ
สูงข้ึน
4. ยงัไมเ่ป็นส่วนหน่ึงของระบบงานในปัจจุบนั หากกลายเป็นส่วนหน่ึงของระบบงานท่ีดา  เนินอยใู่นขณะน้ี
ไมถ่ ือวา่ เป็นนวตักรรม
หลักส าคัญในการน านวัตกรรมเข้ามาใช้
การที่จะรับนวัตกรรมเข้ามาใช้ในสถานที่ใดสถานที่หนึ่งน้นั จา  เป็นท่ีจะตอ้งมีการพจิารณาอยา่ งรอบคอบถึง
ประโยชน์ที่จะได้รับ ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ตลอดจนความคุม้คา่ ของการนา มาใชโ้ดยคา นึงถึงส่ิงตา่ ง ๆ ดงัตอ่ ไปน้ี
(กิดานนั ท์มลิทอง. 2541:246)
1. นวตักรรมท่ีจะนา มาใชน้ ้นั มีจุดเด่นท่ีเห็นไดช้ดักวา่ วสัดุอุปกรณ์หรือวธิีการท่ีใชอ้ยใู่นปัจจุบนั มากนอ้ย
เพียงใด
2. นวตักรรมน้นั มีความเหมาะสมหรือไมก่ บัระบบหรือสภาพท่ีเป็นอยู่
3. มีการวจิยัหรือกรณีศึกษาท่ียนืยนัแน่นอนแลว้วา่ สามารถนา มาใชไ้ดด้ีในสภาวการณ์ท่ีคลา้ยคลึงกนั น้ี
4. นวตักรรมน้นั มีความเก่ียวขอ้งกบัความตอ้งการของผใู้ชอ้ยา่ งจริงจงั
สถานะของนวัตกรรม
1. ความคิดหรือการปฏิบตัิใหมน่ ้นั อาจเก่ามาจากท่ีอ่ืนและเหมาะท่ีจะนา มาปฏิบตัิกบั สถานท่ีน้ีใน
สถานะการณ์ปัจจุบัน
2. ความคิดหรือการปฏิบตัิใหมน่ ้นัคร้ังหน่ึงเคยนา มาใช้แต่ไมไ่ ดผ้ลและลม้ เลิกไป เน่ืองจากเกิดปัญหาตา่ ง ๆ
และความไมพ่ ร้อมในระยะน้นั แตใ่ นสภาพปัจจุบนัความคิดหรือการปฏิบตัิใหมน่ ้นั เหมาะสมท่ีจะนา มาใช้
อีกคร้ังหน่ึง
3. ความคิดหรือการปฏิบตัิใหมน่ ้นั มีความสอดคลอ้งและเหมาะสมกบัการปฏิบตัิงาน เพอ่ืแกป้ ัญหาบางอยา่ ง
และจะช่วยใหบ้ รรลุตามเป้าหมายท่ีกา หนดไวอ้ยา่ งมีประสิทธิภาพ
4.ความคิดหรือการปฏิบตัิใหมน่ ้นัถูกปฏิเสธมาคร้ังหน่ึงแลว้ อาจเน่ืองมาจากผบู้ริหารไมส่ นบั สนุน หรือมี
เจตคติิิท่ีไมด่ ีตอ่ ความคิดหรือการปฏิบตัิใหมน่ ้นั ตอ่ มาผบู้ริหารได้เปล่ียนเจตคติไปในทางท่ีดีหรือมีการ
เปลี่ยนแปลงผบู้ริหารใหม่ทา ใหค้วามคิดหรือการปฏิบตัิใหม่น้นัไดร้ับการสนบั สนุนนา มาใช้
5. ความคิดหรือการปฏิบตัิใหมท่ ่ีไมเ่คยมีใครคิดหรือปฏิบตัิมาก่อน เป็นส่ิงท่ีไดร้ับ การคิดคน้ ไดเ้ป็นคนแรก
ปัจจัยส าคัญที่มีอิทธิพลอันมีผลท าให้เกิดนวัตกรรม
1. แนวความคิดพ้ืนฐานในเร่ืองความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคล(Individual Different) นวตักรรมท่ีเกิดข้ึนเพอ่ื
สนองแนวความคิดพ้นืฐานน้ีเช่น
-การเรียนแบบไมแ่ บง่ ช้นั (Non-Graded School)
-แบบเรียนส าเร็จรูป (Programmed Text Book)
- เครื่องสอน (Teaching Machine)
-การสอนเป็ นคณะ (TeamTeaching)
-การจัดโรงเรียนในโรงเรียน (School within School)
- เคร่ืองคอมพวิเตอร์ช่วยสอน (Computer Assisted Instruction) 2. แนวความคิดพ้ืนฐานในเร่ืองความพร้อม (Readiness) นวตักรรมท่ีสนองแนวความคิดพ้นืฐานดา้นน้ีเช่น
-ศูนย์การเรียน (Learning Center)
-การจัดโรงเรียนในโรงเรียน (School within School)
-การปรับปรุงการสอนสามช้นั (Instructional Development in 3 Phases)
3. แนวความคิดพ้ืนฐานในเร่ืองการใชเ้วลาเพ่ือการศึกษา นวัตกรรมที่ สนองแนวความคิดเช่น
-การจดั ตารางสอนแบบยดืหยนุ่ (Flexible Scheduling)
- มหาวิทยาลัยเปิ ด (Open University)
-แบบเรียนส าเร็จรูป (Programmed Text Book)
-การเรียนทางไปรษณีย์
4. แนวความคิดพ้ืนฐานในเร่ืองการขยายตวัทางวชิาการและอตัราการเพม่ิประชากร นวตักรรมในดา้นน้ีท่ี
เกิดข้ึน เช่น
- มหาวิทยาลัยเปิ ด
-การเรียนทางวิทยุ การเรียนทางโทรทัศน์
-การเรียนทางไปรษณีย์ แบบเรียนส าเร็จรูป
- ชุดการเรียน
เทคโนโลยี
        ค า วา่ เทคโนโลยี ตรงกบัคา ภาษาองักฤษวา่ "Technology"  ซ่ึงมาจากภาษากรีกวา่ "Technologia"
แปลวา่ การกระทา ท่ีระบบ อยา่ งไรกต็ามคา วา่ เทคโนโลยีมกันิยมควบคูก่ บัคา วา่ วทิยาศาสตร์โดยเรียกรวม
ๆ วา่ "วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี" ซึ่ง          พจนานุกรมฉบับ ราชบัณฑิตยสถาน (2539) ได้ให้ความหมาย
ของเทคโนโลยี คือ      วิทยาการ ท่ีเก่ียวกบัศิลปะในการนา  เอวทิยาศาสตร์ประยกุ ตม์ าใชใ้หเ้กิดประโยชน์
ในทาง ปฏิบัติและอุตสาหกรรม นอกจากน้นัยงัมีผใู้หค้วามหมายของเทคโนโลยไีวห้ลากหลาย ดงัน้ีคือ
ารานุกรมเอ็นคาร์ทา(Encarta1999)ไดใ้หท้ ่ีมาและความหมายของคา วา่ เทคโนโลย(Technology) ี ไวว้า่
Technologyเป็ นค าที่มาจากภาษากรีก2คา รวมกนั คือTekhneหมายถึงศิลปหรืองานช่างฝีมือ(art of craft)และ
logiaหมายถึง สาขาวิชาของการศึกษา(art of study)ดงัน้นัถา้จะแปลตามตวัแลว้เทคโนโลยี จึงหมายถึง
การศึกษาหรือศาสตร์ของงานช่างฝีมือ
พจนานุกรมเว็บสเทอร์(Websters1994)ไดใ้หค้วามหมายของคา วา่ เทคโนโลยีไวด้งัน้ี1)ก.การใช้ทาง
วทิยาศาสร์โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิเพอ่ืวตัถุประสงคท์ างดา้นอุตสาหกรรมและพานิชกรรม ข.องคร์วมท้งัหมดของวธิีการและวสัดุท่ีใชเ้พอ่ืบรรลุตามวตัถุประสงคท์ ่ีต้งัไว2)้ องคค์วามรู้ท่ีมีอยใู่นอารยธรรมเพอ่ืใชใ้นการ
เพม่ิพนู ฝึกหดัดา้นศิลปะและทกัษะความชา นาญ เพอ่ืใหไ้ดม้าซ่ึงวสัดุ
เดล(Dale 1969)ใหค้วามหมายวา่ เทคโนโลยปีระกอบดว้ยผลรวมของการทดลอง เคร่ืองมือและ
กระบวนการ ซ่ึงส่ิงท้งัหลายเหล่าน้ีเกิดจากการเรียนรู้ทดลองและไดร้ับการปรับปรุงแกไ้ขมาแลว้
กลัเบรท(Galbraith1967)ไดใ้หค้วามหมายของคา วา่ เทคโนโลยี ไวด้งัน้ีคือเทคโนโลยเีป็นการใช้
อยา่ งเป็นระบบของวธิีการทางวทิยาศาสตร์หรือความรู้ตา่ งๆท่ีรวบรวมไวม้าใชอ้ยา่ งเป็นระบบเพอ่ืนา ไปสู่
ผลในทางปฏิบัติ
ครรชิต มาลัยวงศ์(2539)ไดใ้หร้ายละเอียดของคา วา่ เทคโนโลยหี มายถึง
1.      องค์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ประยุกต์
2. การประยุกต์วิทยาศาสตร์
3. วัสดุ เครื่องยนต์กลไกเครื่องมือ
4. กรรมวธิีและวธิีดา  เนินงานท่ีเก่ียวกบัวทิยาศาสตร์ประยกุ ต์
5.      ศิลปะและทักษะในการจ าแนกและรวบรวมวัสดุ
กล่าวอีกนยัหน่ึงเทคโนโลยีหมายถึง ทุกส่ิงทุกอยา่ งท่ีเก่ียวกบัการผลิต การสร้างและการใชส้่ิงของ
กระบวนการ หรืออุปกรณ์ท่ีไมไ่ ดม้ีในธรรมชาตินน่ั เอง
          ธรรมนูญ โรจนะบุรานนท์(2531) กล่าววา่ เทคโนโลยีคือความรู้วชิาการรวมกบัความรู้วธิีการ และ
ความช านาญท่ีสามารถน าไปปฏิบตัิภารกิจให้มีประสิทธิภาพสูง โดยปกติเทคโนโลยีน้ันมีความรู้
วทิยาศาสตร์รวมอยดู่ว้ย น้นัคือวทิยาศาสตร์เป็นความรู้เทคโนโลยีเป็ นการน าความรู้ไปใช้ในทางปฏิบัติจึง
มกันิยมใชส้องคา ดว้ยกนั คือวทิยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพ่ือเนน้ ใหเ้ขา้ใจวา่ ท้งัสองอยา่ งน้ีตอ้งควบคู่กนั
ไปจึงจะมีประสิทธิภาพ
              ช านาญ เชาวกีรติพงศ์ (2534) ไดใ้ห้ความหมายส้ัน ๆ วา่ เทคโนโลยีหมายถึง วิชาท่ีวา่ ดว้ยการ
ประกอบวตัถุเป็นอุตสาหกรรม หรือวชิาช่างอุตสาหกรรม หรือการน าเอาวิทยาศาสตร์มาใช้ในทางปฏิบัติ(สสวท, 2544) เทคโนโลยี (TECHNOLOGY) เป็ นการน าความรู้ทักษะ และทรัพยากรทาง
เทคโนโลยีมาสร้างส่ิงของเคร่ืองใชห้ รือวธิีการโดยผา่ นขบวนการเพ่ือแกป้ ัญหา สนองความตอ้งการหรือ
เพม่ิความสามารถในการทา งานของมนุษย  ์
จากการที่มีผู้ให้ความหมายของ เทคโนโลยไีวห้ลากหลาย สรุปไดว้า่ เทคโนโลยีหมายถึงวิชาที่
น าเอาวิทยาการทางวิทยาศาสตร์และศาสตร์อื่น ๆ มาประยกุ ตใ์ชต้ามความตอ้งการของมนุษย์เช่น โรงงาน
อุตสาหกรรม เป็ นต้น ซ่ึงพระบาทสมเดจ็พระเจา้อยหู่ วัทรงกล่าวถึงความหมายของเทคโนโลยเีป็นภาษา ง่าย
ๆ วา่ หมายถึงการรู้จกันา มาทา ใหเ้ป็นประโยชนน์ น่ั เอง
ลักษณะของเทคโนโลยี
ลักษณะของเทคโนโลยีสามารถจ าแนกออกได้เป็ น3ลักษณะ คือ (Heinich,Molendaand Russell.
1993)
1.      เทคโนโลยีในลักษณะของกระบวนการ( process)เป็นการใชอ้ยา่ งเป็นระบบของวธิีการ
ทางวทิยาศาสตร์หรือความรู้ตา่ งๆท่ีไดร้วบรวมไวเ้พ่ือนา ไปสู่ผลในทางปฏิบตัิโดยเช่ือวา่
เป็ นกระบวนการท่ีเช่ือถือไดแ้ละนา ไปสู่การแกป้ ัญหาตา่ ง ๆ
2.      เทคโนโลยีในลักษณะของผลผลิต(product)หมายถึงวัสดุและอุปกรณ์ที่เป็ นผลมาจากการ
ใช้กระบวนการทางเทคโนโลยี
3.      เทคโนโลยีในลักษณะผสมของกระบวนการและผลผลิต(process and product)เช่นระบบ
คอมพิวเตอร์ซึ่งมีการท างานเป็นปฏิสมั พนัธ์ระหวา่ งตวัเคร่ืองกบัโปรแกรม
                   
การประยคุ ใช้เทคโนโลยี
Technology
product
process
and
product
processการน า เทคโนโลยมีาใชก้ บังานในสาขาใดสาขาหน่ึงน้นั เทคโนโลยจีะมีส่วนช่วยสา คญั 3 ประการ และถือ
เป็นเกณฑใ์นการพจิารณานา  เทคโนโลยมีาใชด้ว้ย(ก่อ สวัสดิพาณิชย์, 2517) คือ
1. ประสิทธิภาพ ( Efficiency ) เทคโนโลยจีะช่วยใหก้ารทา งานบรรลุผลตามเป้าหมายไดอ้ยา่ ง
เที่ยงตรงและรวดเร็ว
2. ประสิทธิผล ( Productivity ) เป็นการทา งานเพอ่ืใหไ้ดผ้ลผลิตออกมาอยา่ งเตม็ ท่ีมากท่ีสุด
เทา่ ท่ีจะมากได้เพอ่ืใหไ้ดป้ ระสิทธิผลสูงสุด
3. ประหยัด ( Economy ) เป็นการประหยดัท้งัเวลาและแรงงานในการทา งานดว้ยการลงทุน
นอ้ยแตไ่ ดผ้ลมากกวา่ ท่ีลงทุนไป
ระดับของเทคโนโลยี
ระดบัของเทคโนโลยสีามารถแบง่ ตามความรู้ท่ีใชไ้ดเ้ป็น _3_ _ระดับ _ดงัน้ี
1. เทคโนโลยีระดับพ้นืฐาน (Basic Technology)
คือการใชเ้คร่ืองมือหรืออุปกรณ์ง่ายๆ ราคาไมแ่ พง หรือเป็ นการน าเสนอวัสดุจากธรรมชาติมาใช้โดยตรง
เช่นการนา ไมไ้ผม่ าทา ท่ีพกัอาศยั หรืออุปกรณ์ตา่ งๆ เช่น เคียวเก่ียวขา้วเครื่องทอผ้า เป็ นต้น ลกัษณะแบบน้ี
เรียกวา่ " ภมู ิปัญญาทอ้งถ่ิน"ลกัษณะงานเช่นน้ีไมจ่ า  เป็นตอ้งใชว้ศิวกรท่ีมีความรู้มาออกแบบจะใช้
ประสบการณ์หรือประมาณจากการประสบการณ์ของตนเอง
การเก่ียวขา้วโดยใชแ้รงงานคนเป็นเทคโนโลยรีะดบั พ้นืฐาน
2. เทคโนโลยีระดับกลาง (Intermediate Technology)เป็นการใชเ้คร่ืองมืออุปกรณ์ท่ีมีเทคโนโลยที่ีสูงข้ึน มีข้นั ตอนการทา งานซบั ซอ้ น มีการค านวณและมีการวาง
เเผนในการท างานล่วงหนา้ก่อนการทา งาน และผปู้ ฏิบตัิงานกบั เคร่ืองอุปกรณ์เหล่าน้ีจา  เป็นตอ้งมีความรู้
พอสมควรและผลิตภัณฑ์ผลิตออกมากม็ีการใชว้สัดุสงัเคราะห์มากข้ึน จากเกษตรพ้นื บา้นเป็นเกษตรกรรม
เมือง เทคโนโลยใีนระดบั น้ีเช่น การใช้เครื่องจักรแทนคน  การใชเ้คร่ืองทุน่ แรงการใชส้่ิงอานวยความ
สะดวกตา่ ง ๆ  เป็ นต้น
การเก่ียวขา้วโดยใชเ้คร่ืองจกัรทุน่ แรงเป็ นเทคโนโลยีระดับกลาง
3. เทคโนโลยขี้นั สูง (High Technology)
เป็ นงานที่ต้องอาศักความรู้ทางวิศวกรรม การศึกษาวจิยั และการพฒั นาอยา่ งต่อเน่ืองดา้นเฉพาะดา้นข้นั สูง
เช่น หุ่นยนต์อาคารหรือตึกสูงๆ เคร่ืองบินโดยสารยานอวกาศรถไฟความเร็วสูง รถแข่ง เป็นตน้ งานเหล่าน้ี
ตอ้งมีการคา นวณอยา่ งละเอียด มีการทดลองใชง้านเพอ่ืหาขอ้ผดิพลาดก่อนการใชง้านจริงหุ่นยนตเ์ป็นเทคโนโลยรีะดบั สูง
สาขาของเทคโนโลยี
เทคโนโลยเีป็นวทิยาศาสตร์ประยกุ ตท์ ่ีผผู้ลิตเทคโนโลยมีีจุดมุง่ หมายจะแกป้ ัญหาหรือสนองความตอ้งการ
ของมนุษยใ์นรูปแบบตา่ งๆ _จึงเกิดเป็นเทคโนโลยขี้ึนหลายสาขา_ดงัน้ี
1_._เทคโนโลยีผลิตภัณฑ์และการผลิต _(_P_r_o_d_u_c_t_i_o_n_ _a_n_d_ _P_r_o_c_e_s_s_
_T_e_c_h_n_o_l_o_g_y_)_ _ใช้ในระบบการผลิต
2_._เทคโนโลยีการควบคุม _(_C_o_n_t_r_o_l_ _T_e_c_h_n_o_l_o_g_y_)_ _ใช้ควบคุมการบริหารจัดการ
ตา่ งๆ
3_._เทคโนโลยีชีวภาพ _(_B_i_o_t_e_c_h_n_o_l_o_g_y_)_ _นามาใช้ทางการแพทย์_ทางการเกษตรและ
อุตสาหกรรม
4_._เทคโนโลยีการอาหาร _(_F_o_o_d_ _T_e_c_h_n_o_l_o_g_y_)_ _ใช้ในการถนอมอาหาร _การแปรรูป
อาหาร_บรรจุภัณฑ์_การจดัจาหน่ายอาหาร _และเพม่ิคุณคา่ ของอาหารตามหลกัโภชนาการ
5_._เทคโนโลยีวัสดุ_(_M_a_t_e_r_i_a_l_s_ _T_e_c_h_n_o_l_o_g_y_)_ _เป็ นเทคโนโลยีที่มีความสาคัญ
ในการผลกัดนัความกา้วหนา้ดา้นอุตสาหกรรมเป็นอยา่ งมาก_เทคโนโลยีวัสดุศาสตร์เน้นการพัฒนาวัสดุ_
อุตสาหกรรมที่มีสมรรถนะสูง _เช่น _การพัฒนาเซรามิกเพื่อใช้ในด้านอุตสาหกรรม _ซ่ึงเป็นไดท้ ้งัตวันา
และฉนวน _เป็นท้งัตวัระบายความร้อนและฉนวนความร้อน _และยงัเป็นวสัดุท่ีทนต่อการสึกหรอไดเ้ป็น
อยางดี ่ _เป็ นต้น6_._เทคโนโลยทีางการขนส่ง _(_T_r_a_n_s_p_o_r_t_a_t_i_o_n_ _T_e_c_h_n_o_l_o_g_y_)_ _เป็ น
เทคโนโลยที่ีเก่ียวขอ้งกบัการขนส่งสินคา้ _ท้งัทางบก_ทางเรือ_และทางอากาศ_เช่น _รถยนต์_รถไฟฟ้ า _
เครื่องบิน _เรือ_เป็ นต้น
7_._เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์_(_E_l_e_c_t_r_o_n_i_c_s_ _T_e_c_h_n_o_l_o_g_y_)_ _เป็ นการ
ประยุกต์ใช้ทฤษฎีและหลักการทางวิทยาศาสตร์สาหรับการออกแบบ _ผลิต _ติดต้งั _ทดสอบ _บริการใช้
สอยและควบคุมชิ้นส่วนอุปกรณ์ท่ีเก่ียวขอ้งกบัไฟฟ้าและอิเลก็ ทรอนิกส์_เช่น _เครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์และ
คอมพิวเตอร์_การสื่อสารด้วยระบบเลเซอร์_หุ่นยนต์_ซูปเปอร์คอนดักเตอร์_เป็ นต้น
8_._เทคโนโลยสี่ิงทอและเส้ือผา้_(_T_e_x_t_i_l_e_ _G_a_r_m_e_n_t_ _T_e_c_h_n_o_l_o_g_y_)_ _ใช้
ในการออกแบบผลิตภัณฑ์และการควบคุมการผลิตผลิตภัณฑ์
9_._เทคโนโลยีสารสนเทศ_(_I_n_f_o_r_m_a_t_i_o_n_ _T_e_c_h_n_o_l_o_g_y_)_ _ใช้ในการรวบรวม
ข้อมูลประมวลผลข้อมูล_และนาเสนอข้อมูล
1_0_._เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร _(_I_n_f_o_r_m_a_t_i_o_n_ _a_n_d_
_C_o_m_m_u_n_i_c_a_t_i_o_n_ _T_e_c_h_n_o_l_o_g_y_)_ _เป็นการผสมผสานระหวา่ งเทคโนโลยี
สารสนเทศกบัการส่ือสาร
1_1_._เทคโนโลยีการเกษตร _(_A_g_r_i_c_u_l_t_u_r_a_l_ _T_e_c_h_n_o_l_o_g_y_)_ _คือ_ความรู้_
วิทยาการ_เทคนิค_วธิีการเคร่ืองจกัรกลท่ีเกษตรกรนามาใชป้ รับปรุงหรือเพม่ิผลผลิตทางการเกษตร _เช่น _
เทคโนโลยีในการเพาะปลูก_การขยายพันธุ์พืช _การใส่ปุ๋ย_การกาจัดศัตรูพืช _รวมถึงการเล้ียงสตัว์_
เทคโนโลยกีารเกษตรจะเช่ือมโยงสมั พนัธ์กบั เทคโนโลยอี่ืน _ๆ _เช่น _เทคโนโลยีอาหาร _เทคโนโลยี
อุตสาหกรรมอาหาร _เทคโนโลยีชีวภาพ _เป็ นต้น
ลักษณะของเทคโนโลยี
จากสาขาของเทคโนโลยดีงักล่าวหากจดัแบง่ ออกเป็นกลุ่มตามลกัษณะของเทคโนโลยสีามารถแบง่ ออกเป็น
_2_ _กลุ่ม _ดงัน้ี
1_._เทคโนโลยีที่เป็ นการสร้าง _เป็นเทคโนโลยที่ีมนุษยใ์ชส้ ร้างส่ิงของ _เครื่องมือ_เคร่ืองใชต้า่ งๆ _โดยใช้
ความรู้_ทักษะ_และประสบการณ์_เพื่อใช้พัฒนาอาชีพและพฒั นาคุณภาพชีวติใหด้ีข้ึน
2_._เทคโนโลยีที่เป็ นวิธีการ _เป็ นเทคโนโลยีที่มนุษย์ได้เลือกวิธีการใดวิธีการหนึ่งในการทางาน _เพอ่ืเพม่ิ
ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของงานให้ได้รับความสะดวกสบาย _มีชีวติท่ีง่ายข้ึนความแตกต่างระหว่างนวัตกรรมและเทคโนโลยี
สุมิตา บุญวาส (2546) ไดเ้ปรียบเทียบความแตกตา่ งระหวา่ งนวตักรรมและเทคโนโลยไีวด้งัน้ี
นวตักรรมเป็นการวจิยัหาวสัดุ อุปกรณ์ และวธิีการใหมๆ่ หรือปรับปรุงของเก่าใหไ้ดส้่ิงท่ีมี
ประสิทธิภาพมากกวา่ เดิม ส่วน เทคโนโลยี คือ การนา  เอาวทิยาศาสตร์มาใชใ้หเ้กิดประโยชนืในการ
ดา  เนินงานตา่ งๆ อยา่ งมีระบบ
อา นวย เดชชยัศรี(2544 ) ไดเ้ปรียบเทียบความแตกตา่ งระหวา่ งนวตักรรมและเทคโนโลยไีวด้งัน้ี
นวตักรรมเกิดจากแนวคิดและความรู้ใหมๆ่ ท่ีเกิดจากการคิดสร้างสรรค์ ส่วนเทคโนโลยเีกิดจากการ
นา นวตักรรมมาพสิูจนต์ ามข้นั ตอนทางวทิยาศาสตร์ ผลผลิตจากการพสิูจนไ์ดถู้กนา  มาใชอ้ยา่ งมีระบบเพอ่ื
แกป้ ัญหาตา่ งๆใหเ้กิดประสิทธิภาพ
อจัฉรา ส้มเขียวหวาน (2006) ไดเ้ปรียบเทียบความแตกตา่ งระหวา่ งนวตักรรมและเทคโนโลยไีว้
ดงัน้ี
1. นวัตกรรมเป็นแนวคิด แนวปฏิบตัิ หรือการกระทา ใหม่ๆจะเป็นส่ิงใหมท่ ้งัหมดหรือเพยีงบางส่วน
กไ็ดแ้ตเ่ทคโนโลยเีป็นส่ิงท่ีผคู้นส่วนใหญย่ อมรับจนกลายเป็น
แนวปฏิบัติ
2.       นวตักรรม อยใู่นข้นัการเอาไปใชใ้นกลุ่มยอ่ ยเพยีงบางส่วนไมแ่ พร่หลายแต่เทคโนโลยอียู่ในข้นั
การน าเอาไปปฏิบัติกนั ในชีวติประจา วนัจนกลายเป็นเร่ืองธรรมดา

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น